เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ ๙ โขนเรือเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เรือพระที่นั่งลำนี้เป็นเรือพระที่นั่งลำใหม่ล่าสุดที่ได้สร้างขึ้นมาเพื่อเฉลิมฉลองวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (ร.9) ครองราชสมบัติครบ 50 ปีตัวเรือมีความยาว 44.30 เมตร ใช้ฝีพายทั้งหมด 50 นาย ใช้งบประมาณ ทั้งสิ้น 11,941,730.- บาท โดยกรมอู่ทหารเรือรับหน้าที่สร้างตัวเรือ กรมศิลปากรทำหน้าที่ออกแบบลวดลาย
สาร (messages)
เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณรัชกาลที่ 9
สาร (messages)
เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณรัชกาลที่ 9
แนวความคิด (concept)
โขนเรือ จำหลักรูปพระนารายณ์ ๔ กร ทรงเทพศาสตรา ตรี คฑา จักร สังข์ ทรงเครื่องภูษิตาภรณ์ และ มงกุฏยอดชัย ประทับยืนบนหลังพญาครุฑ ซึ่งเป็นโขนเรือ แกะสลักจากไม้ ลงรักปิดทองประดับกระจกตลอดทั้งลำ ลวดลายเขียนลายดอกพุดตานพื้น
โขนเรือ จำหลักรูปพระนารายณ์ ๔ กร ทรงเทพศาสตรา ตรี คฑา จักร สังข์ ทรงเครื่องภูษิตาภรณ์ และ มงกุฏยอดชัย ประทับยืนบนหลังพญาครุฑ ซึ่งเป็นโขนเรือ แกะสลักจากไม้ ลงรักปิดทองประดับกระจกตลอดทั้งลำ ลวดลายเขียนลายดอกพุดตานพื้น
รูปแบบการสื่อสาร (form)
มีการแกะสลักจากไม้ ลงรักปิดทองประดับกระจกตลอดทั้งลำเรือ ลวดลายเขียนลายดอกพุดตานพื้น
มีการแกะสลักจากไม้ ลงรักปิดทองประดับกระจกตลอดทั้งลำเรือ ลวดลายเขียนลายดอกพุดตานพื้น
สื่อที่เลือกใช้ (media)
เป็นเรือในพระราชพิธีพยุหยาตราทางชลมารค
เป็นเรือในพระราชพิธีพยุหยาตราทางชลมารค
วิธีการสื่อสาร (how to communicate)
ด้วยการที่เป็นพระราชพีธีจึงต้องทำให้มีความสวยงาม ยิ่งใหญ่ และอลังการ
ด้วยการที่เป็นพระราชพีธีจึงต้องทำให้มีความสวยงาม ยิ่งใหญ่ และอลังการ
เป็นการสื่อสารแบบทางตรงหรือทางอ้อม (direct or indirect communication)
เป็นการสื่อสารแบบทางตรงเพราะ เป็นเรือในพระราชพิธีพยุหยาตราทางชลมารค
เป็นการสื่อสารแบบทางตรงเพราะ เป็นเรือในพระราชพิธีพยุหยาตราทางชลมารค
กลุ่มเป้าหมาย (target group)
ทุกเทศทุกวัย
ทุกเทศทุกวัย
ความเชื่อมโยงทางสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ เศรษฐกิจ การเมือง ฯลฯ (relationship)
เป็นสิ่งที่คนไทยให้ความภาคภูมิใจในพระราชพิธีที่เก่าแก่ ที่เป็นมรดกตกทอดทางวัฒนธรรม ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความผูกพันธ์ของคนไทยและสายน้ำ
เป็นสิ่งที่คนไทยให้ความภาคภูมิใจในพระราชพิธีที่เก่าแก่ ที่เป็นมรดกตกทอดทางวัฒนธรรม ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความผูกพันธ์ของคนไทยและสายน้ำ
ผล (result)
- เป็นสิ่งที่คนไทยภาคภูมิใจ
- เป็นการสืบสารพิธีอันเก่าแก่ของไทย เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ชม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น